<span class="gmail_quote">Dr Somboon Siriprachai of the Faculty of Economics at Thammasat passed away suddenly at the age of 52 during the last week of 2008.&nbsp; Please see message below.</span><br><br>---------- Forwarded message ----------<br>
<span class="gmail_quote">
<div><span class="e" id="q_11ea557fa1792182_2"><br></span></div></span>
<div><span class="e" id="q_11ea557fa1792182_4">
<div>
<div style="FONT-SIZE: 12pt; FONT-FAMILY: arial,helvetica,sans-serif">
<div><span>
<div>
<div><span>โครงการ &quot;สมบูรณ์ 2.0&quot; ?</span></div></div></span>
<div>Thursday, January 1, 2009 at 10:02pm</div></div>
<div>
<div><span>จากที่บอกว่ามีคนอยากช่วยกั</span><span></span><span>นสานต่องานของอาจารย์สมบูรณ</span><span></span><span>์ที่เสียชีวิตไป ถ้ามีหนึ่งเรื่องที่ผมอยากจ</span><span></span><span>ะสานต่องานของอาจารย์สมบูรณ</span><span></span><span>์คงไม่ใช่ความรู้หรือประเด็</span><span></span>นที่อาจารย์สนใจโดยตรงนัก <br>
<br><span>แต่น่าจะเป็นเรื่องที่อาจาร</span><span></span><span>ย์สมบูรณ์เป็นผู้ที่เป็นเหม</span><span></span><span>ือนห้องสมุดของเนื้อหาวิชาก</span><span></span><span>ารใหม่ๆประจำคณะฯ ห้องสมุดที่ว่าก็อยู่ในสมอง</span><span></span><span>กับในเครื่องของอาจารย์ที่ค</span><span></span>ณะฯ <br>
<br><span>หากไม่มีเวลาอ่านต่อ ผมก็อยากเสนอให้คณะฯทำหัวข้</span><span></span>อต่อไปนี้<br><br><span>1. Online subscription วารสารต่างประเทศดีๆในระดับ</span><span></span>นักศึกษา <br><span>2. ทำฐานข้อมูลออนไลน์งานวิชาก</span><span></span><span>ารเศรษฐศาสตร์ของคนที่เกี่ย</span><span></span>วข้องกับคณะฯ<br>
<span>3. ทำเครือข่ายออนไลน์อาสา (ให้/ค้นหา) ความรู้ของคนที่เกี่ยวข้องก</span><span></span>ับคณะฯ<br>4. Somboon Siriprachai Fellowship in Alternative Economics<br><br><span>ผมอาสาช่วยระดมทุนกับความร่</span><span></span><span>วมมือจากคนที่สนใจมาทำให้เก</span><span></span>ิดครับ<br>
<br><span>หากมีเวลาอ่านก็อ่านต่อในรา</span><span></span>ยละเอียด ติดตามได้ด้านล่างครับ ...<br><br><span>คือห้องสมุดป๋วยนั้นถ้าจะหา</span><span></span><span>หนังสือพื้นฐานหรือหนังสือโ</span><span></span><span>บราณก็จะเจอ แต่ถ้าจะหา journal ใหม่ๆ หรืองานวิชาการใหม่ๆเนี้ย ไม่ค่อยจะเจอ ทำให้นักศึกษาหัวก้าวหน้าหน</span><span></span>่อยรู้สึกเศร้า <br>
<br><span>แต่ความเศร้าก็หายไปเมื่อไป</span><span></span><span>หาอาจารย์สมบูรณ์เพราะอาจาร</span><span></span><span>ย์มักจะมีงานชิ้นนั้นๆอยู่ใ</span><span></span><span>นเครื่องที่คณะ หรือไม่ก็มี subscription อะไรซักอย่่างที่จะเข้าถึงง</span><span></span><span>านชิ้นนั้นๆได้ แถมยังสามารถแนะนำได้อีกว่า</span><span></span><span>งานชิ้นดังกล่าวอยู่ในวิชาเ</span><span></span><span>ศรษฐศาสตร์ยุคใหม่สาขาอะไร แนวคิดทั่วไปเป็นอย่า่งไร งานที่เกี่ยวข้องมีอะไรบ้าง</span><span></span><span> จะไปหาข้อมูลต่อได้อย่างไร จริงๆที่อาจารย์เป็นอย่างนี</span><span></span><span>้อาจเป็นเพราะจบมาด้าน Economic History จาก Lund ที่ไม่ได้เข้าข้างสำนักเศรษ</span><span></span><span>ฐศาสตร์สำนักใดสำนักหนึ่ง แต่เชื่อว่าแต่ละแนวคิดก็เป</span><span></span><span>็นเพียงวิธีคิดหนึ่งๆไม่ได้</span><span></span><span>ดีเด่นไปกว่า่สำนักใด เป็นเพียงส่วนหนึ่งของประวั</span><span></span><span>ติศาสตร์ ที่มีฐานความคิดความเชื่อต่</span><span></span>างกัน (จริงๆผมก็ไปเรียน exchange กับภาค economic history ที่ Lund ก็เพราะอาจารย์นี้แหละ) <br>
<br><span>ผมว่าอาจารย์เป็นตัวอย่างขอ</span><span></span><span>งอาจารย์ที่ช่วยนักศึกษาในศ</span><span></span><span>ตวรรษที่ 21 ได้จริงๆ ไม่ได้เน้นว่าตนเองรู้อะไร แต่เน้นว่าสามารถช่วยให้นัก</span><span></span><span>ศึกษาที่สนใจอะไรสามารถค้นห</span><span></span>าความรู้นั้นได้ด้วยตัวเอง <br>
<br><span>เป็นเหมือนไกด์นำเที่ยวแห่ง</span><span></span>วิชาเศรษฐศาสตร์ <br><br><span>ดังนั้นข้อเสนอของผมในเรื่อ</span><span></span><span>งการสานต่องานของอาจารย์ซึ่</span><span></span><span>งอาจจะเรียกว่าโครงการ &quot;สมบูรณ์ 2.0&quot; โดยเป้าหมายในการสร้างกลไกห</span><span></span><span>รือระบบอะไรซักอย่างที่จะทำ</span><span></span><span>ให้นักศึกษาที่สนใจวิชาความ</span><span></span><span>รู้เศรษฐศาสตร์แนวใหม่ๆสามา</span><span></span><span>รถเข้าถึงความรู้เหล่านั้นไ</span><span></span>ด้ คือ<br>
<br><b><span>1. Online subscription วารสารต่างประเทศดีๆในระดับ</span><span></span>นักศึกษา </b><br><span>ถ้าคณะยังไม่ได้ subscribe pool ของวารสารวิชาการสำคัญๆต่าง</span><span></span><span>ประเทศให้นักศึกษา ก็ทำการระดมทุนเพื่อ subscribe ซะ เด็กๆจะได้หาข้อมูลเพิ่มพลั</span><span></span><span>งการเรียนรู้ได้ เหมือนตอนที่เด็กเราไป exchange ก็จะเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ไ</span><span></span>ด้หมด <br>
<br><b><span>2. ทำฐานข้อมูลออนไลน์งานวิชาก</span><span></span>ารเศรษฐศาสตร์ของคณะฯ </b><br><span>จัดระบบฐานข้อมูลงานวิชาการ</span><span></span>ที่... <br>(1) อาจารย์เขียน ไม่ว่าจะส่งไปลงวารสารอะไร หนังสือพิมพ์ ฯลฯ <br>(2) นักศึกษาส่งอาจารย์ หรือส่งประกวด ในระหว่างปีการศึกษา<br>
(3) วิทยานิพนธ์<br><br><span>โดยให้งานเหล่านี้สามารถเข้</span><span></span><span>าถึงได้ online ในลักษณะ full text search, เป็น ไฟล์ PDF หรือไฟล์สกุลอื่นๆ สามารถ download ได้โดยง่าย ซึ่งอาจจะทำระบบให้ส่งงานได</span><span></span>้ออนไลน์ หรือหากระบวนการจัดการ scan งานสำคัญๆเก็บไว้ในฐาน คล้ายๆ google books + scholar <br>
<br><span>และมีนโยบายระดับคณะให้งานท</span><span></span><span>ี่อาจารย์และนักศึกษาเขียนน</span><span></span><span>ั้นใช้ลิขสิทธิ์ creative commons ซึ่งได้ port มาใช้กับกฏหมายไทยได้ในระดั</span><span></span><span>บหนึ่งแล้ว เป็นลักษณะลิขสิทธิ์ที่เจ้า</span><span></span><span>ของอนุญาตให้ผู้อื่นเอาไปใช</span><span></span><span>้ต่อได้ตราบใดที่มีการอ้างอ</span><span></span><span>ิงและไม่ได้ใช้เพื่อการค้า ทั้งนี้เพื่อป้องกันปัญหากา</span><span></span><span>รติดลิขสิทธิ์ (ยกเว้นตอนส่ง journal ให้วารสารฝรั่งที่บังคับให้</span><span></span>ลิขสิทธิ์เป็นของเขา แต่อาจารย์ก็ทำ derivative ไว้ได้อยู่ดี) อ่านรายละเอียดได้ที่ <a onclick="return top.js.OpenExtLink(window,event,this)" href="http://cc.in.th/" target="_blank" rel="nofollow">http://cc.in.th/</a><br>
<span>จริงๆเรื่องนี้นอกจะเป็นประ</span><span></span><span>โยชน์กับนักศึกษาในการค้นหา</span><span></span><span>ข้อมูลต่อยอดจากรุ่นพี่ๆแล้</span><span></span><span>วก็ยังเป็นการสร้าง port งานทางวิชาการของนักศึกษาที</span><span></span><span>่เป็นระบบที่เอาไปใช้อ้างเว</span><span></span><span>ลาจะสมัครเรียนต่อได้อีกด้ว</span><span></span>ย <br>
<br><span>ถ้าจะให้ดีก็ทำเป็นเหมือนเว</span><span></span><span>็บที่อธิบายเศรษฐศาสตร์แต่ล</span><span></span><span>ะสาขาใหม่สั้นๆ link งานสำคัญๆ ใครเป็นเจ้าสำนัก ฯลฯ ซะหน่อย ให้เด็กๆเข้าใจเรื่องนี้ได้</span><span></span>ง่่ายและเร็วขึ้น <br>
<br><span>เรื่องระบบออนไลน์ที่จะต้อง</span><span></span><span>หามาใช้นั้น ถ้าไม่ได้มีอยู่แล้ว ที่สถาบันฯของผมมีงานลักษณะ</span><span></span>นี้ที่เป็น open source อยู่ (digital library 2.0 type systems) อาจจะเอามาใช้ได้เลย ปรับนิดหน่อย ไม่ต้องใช้เงิน <br>
<br><b>3. ทำเครือข่ายออนไลน์อาสา (ให้/ค้นหา) ความรู้ของคณะ</b><br><span>สร้างเครือข่าย online ของนักศึกษา ศิษย์เก่า และอาจาารย์ที่มีความสนใจที</span><span></span><span>่จะทำหน้าที่เป็นกลุ่มอาสาห</span><span></span><span>าให้ความรู้เศรษฐศาสตร์ คือเวลามี request งานวิชาการชิ้นใดๆ หรือแนวทางความรู้ใดๆ เครือข่ายดังกล่าวจะทำหน้าท</span><span></span><span>ี่ช่วยหาข้อมูลเบื้องต้นให้</span><span></span><span> อาจจะช่วยแนะนำกันก็ได้ หรืออาจจะนัดแนะให้รู้จักกั</span><span></span><span>บนักวิชาการหรือผู้มีความรู</span><span></span><span>้ในเรื่องนั้นๆในประเทศไทย โดยกลุ่มอาจจะมีเลขาฯซึ่งอา</span><span></span><span>จจะระดมทุนมาจ้างในลักษณะเป</span><span></span><span>็นคล้าย RA 3-4 คนในแต่ละปี คือเป็นคล้ายๆ distributed digital library service เช่น มีคนอยากได้เนื้อหา profile ความเสี่ยงของการเมืองต่อเศ</span><span></span><span>รษฐกิจของไทย อาจจะมีใครมี account ของ Economist intelligence unit อยู่ก็โหลดมาให้น้องเขาหน่อ</span><span></span><span>ย โดยอาจจะทำจำกัดรับบริการเฉ</span><span></span><span>พาะนักศึกษาของคณะที่ยอมจ่า</span><span></span><span>ยนิดหน่อย อาจมีโควต้าจำนวนครั้งที่ใช</span><span></span>้ได้ (เพื่อแสดง commitment ว่าจะไม่ใช้อะไรมั่วๆ) ทดลองดู เผื่อดี อาจจะต่อยอดจาก facebook ฯลฯ ที่มีอยู่แล้วก็ได้<br>
<br><b>4. Somboon Siriprachai Fellowship in alternative economics </b><br><span>ปีละกลุ่ม โดยมีเป้าหมายเชื่อมและสนับ</span><span></span><span>สนุนนักศึกษาทั้งตรี และโท ที่มีความสนใจวิชาการในด้าน</span><span></span><span>แปลกๆใหม่ๆสูง (alternative economics - institutional, economic history, austrian, behavioral, etc..) ให้สามารถเชื่อมโยงและเรียน</span><span></span><span>รู้จากนักวิชาการทั้งไทยและ</span><span></span><span>ต่างประเทศอย่างเป็นระบบ เช่นมีการพาไปหานักวิชาการส</span><span></span><span>ุดยอดของเมืองไทยเป็นกิจลัก</span><span></span><span>ษณะและต่อเนื่อง มีการเชื่อมโยงนักศึกษาเหล่</span><span></span><span>านี้กับสถาบันหรือนักวิชากา</span><span></span><span>รในต่างประเทศผ่านคณะฯ มีการจัดสัมมนาวิชาการให้ อาจจะมีการสนับสนุนการจัดพิ</span><span></span><span>มพ์งานวิชาการให้ตามความเหม</span><span></span><span>าะสม หรือเอาให้มีประโยชน์กว่านั</span><span></span><span>้น อาจจะส่งคนเหล่านี้ไปฝึกงาน</span><span></span><span>ในหน่วยงานที่มีความสำคัญทา</span><span></span><span>งเศรษฐกิจอย่างน้อย 6 เดือน ตั้งแต่ ธปท. คลัง มูลนิธิสมาคม บริษัทและสถาบันการเงิน สถาบันวิจัย ฯลฯ โดยไม่ให้ฝึกที่เดียวแต่ให้</span><span></span><span>วนไปเรื่อยๆ จะได้เกิดความเข้าใจเศรษฐกิ</span><span></span><span>จ-สังคม-การเมืองในหลากหลาย</span><span></span><span>มุมมองบนฐานความท้าทายจริงไ</span><span></span><span>ม่ใช่เป็นวิชาการหอคอยงาช้า</span><span></span><span>ง และให้มีการพบเจอแลกเปลี่ยน</span><span></span><span>ประสปการณ์กันจริงจังในกลุ่</span><span></span><span>มและให้นักศึกษาคนอื่นๆเข้า</span><span></span><span>ฟังอีกด้วย ประเทศไทยจะได้มีนักเศรษฐศา</span><span></span>สตร์สายอื่นนอกจากพวก math/neo-classical ซะบ้าง<br>
<br><span>ทั้ง 4 ข้อที่ว่ามานี้ หากคณะฯสนใจ แต่จำเป็นต้องใช้งบประมาณ (โดยเฉพาะข้อ 1) ซึ่งอาจมีไม่เพียงพอ หรือต้องการคนไปช่วยขับเคลื</span><span></span><span>่อนให้เริ่มได้ก่อน ผมยินดีช่วยเป็นโต้โผระดมทุ</span><span></span><span>นและความร่วมมือจากหน่วยงาน</span><span></span>และศิษย์เก่ามาให้ <br>
<br><span>ดีไหมครับ ทำได้ซักอย่างใน 4 อย่างที่ว่านี้ ก็อาจจะเป้นจุดเริ่มต้นที่ด</span><span></span>ี <br><br><span>ไม่ทราบคนอื่นคิดอย่างไร จะปรับแก้แนวคิดพวกนี้ที่ผม</span><span></span><span>เสนอเป็นตุ้กตามาเล่นๆใหมคร</span><span></span><span>ับ ใครสนใจลองกระจายความคิดนี้</span><span></span>ไปดูครับ <br>
<br>สุนิตย์ </div></div>
<div><br>&nbsp;</div></div></div></span></div>